วงจรชีวิตผีเสื้อในป่าฮาลา-บาลา

ผีเสื้อหน้าเข็มปีกมนจาง

 

< BACK  /  NEXT >

***กดปุ่มบนรูปภาพหน้าต่างรูปภาพนั้นๆ จะถูกขยายใหญ่และปรากฎขึ้น โดยสามารถกดปุ่ม NEXT หรือ BACK ในการเปิดหน้าต่างในแต่ละชนิดของวงจรชีวิตผีเสื้อ***

 

ผีเสื้อหน้าเข็มปีกมนจาง

ชื่อสามัญ The Pale Green Awlet

ชื่อวิทยาศาสตร์ Bibasis gomata lalita

วงศ์ HESPERIIDAE

ขนาด (wingspan ) 45 – 50 มม.

  ท้องมีลายสลับดำขวางลำตัว ปีกบน พื้นสีดำปนเทากระจายทั่วทั้งปีก ไม่มีลวดลาย ปีกล่าง พื้นปีกสีเทามีเส้นลายสีน้ำตาลเข้มจากโคนปีกไปยังขอบปีกด้านข้างทั่วทั้งปีก แต่บริเวณกลางปีกทั้งปีกคู่หน้าและคู่หลังมีแถบสีเทาของพื้นปีก

ลักษณะของหนอนผีเสื้อ ลำตัว เป็นปล้องๆ รูปทรงกระบอก ลำตัวสีเหลืองมีแถบสีดำและแถบสีขาวพาดขวางสลับกับสีของลำตัว และมีจุดสีดำเล็กๆ แทรกกระจายบนลำตัว หัวมีสีส้ม

ลักษณะของดักแด้ ใช้ใยคล้องลำตัวและสร้างใยยึดใบไม้มาห่อตัวไว้ระยะดักแด้ 11 วัน

สภาพแหล่งที่อยู่อาศัย ป่าโปร่ง ป่าไผ่ ป่าดิบชื้น ลำธาร

พืชอาหาร ต้างบุก ( Trevesia burckii )

 

 

© สงวนลิขสิทธิ์ โครงการอนุรักษ์ธรรมชาติและสัตว์ป่าสวนป่าพระนามาภิไธยภาคใต้ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ท ี่6

ส่วนโครงการพระราชดำริและความมั่นคง กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช

นายโกวิทย์ หวังทวีทรัพย์ นักวิชากาป่ไม้ 7 ว  ผู้จัดทำเวบไซด์

ปรับปรุงวันที่ 22 ตุลาคม 2551